คำสั่ง FOR…TO…DO และ FOR..DOWNTO…DO ภาษาปาสคาล
คำสั่ง FOR…TO…DO และ  FOR..DOWNTO…DO



                เป็นคำสั่งที่ทำงานเป็นวงรอบที่มีการกำหนดจำนวนครั้งที่แน่นอน


คำสั่ง While…DO ภาษาปาสคาล

                คำสั่ง  While…Do  เป็นคำสั่งที่ทำงานเป็นวงรอบเช่นกัน  แต่จะตรวจสอบ

เงื่อนไขก่อน  หากเงื่อนไขเป็นจริงจึงจะเข้าทำงานในวงรอบ และจะทำซ้ำอยู่จนกว่าเงื่อ

นไขเป็นเท็จ  หากเงื่อนไขเป็นเท็จแต่แรกจะไม่เข้าทำงานในวงรอบ


การทำงานเป็นวงรอบ (LOOP) ภาษาปาสคาล
การทำงานเป็นวงรอบ (LOOP)

                การทำงานเป็นวงรอบ (LOOP) หมายถึง การทำงานเป็นรอบตามเงื่อนไขที

่กำหนดและจะเลิการทำงานออกนอกวงรอบก็ต่อเมื่อเงื่อนไขที่ตรวจสอบเป็นจริง

หรือเป็นเท็จตามที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดไว้

คำสั่ง CASE ภาษาปาสคาล
คำสั่ง  CASE

               

                คำสั่ง  Case  เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องเลือกปฏิบัติงาน  เมื่อมีเงื่อนไขให้

เลือกหลายเงื่อนไข

คำสั่ง IF – THEN – ELSE ภาษาปาสคาล
คำสั่ง  IF – THEN – ELSE



                เป็นคำสั่งใช้ตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ

  ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะไปทำงานที่คำสั่งที่อยู่หลัง  Then

  ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะไปทำงานคำสั่งที่อยู่หลัง  Else  หรือถ้ามีมีคำสั่ง  Else  ก็จะ

ไปทำงานที่คำสั่งบรรทัดถัดลงมาจาก  IF
คำสั่ง READ,READLN,WRITE และ WRITELN ภาษาปาสคาล
คำสั่ง  READ,READLN,WRITE  และ  WRITELN

            คำสั่ง  READ  และ  READLN

            เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องรอรับค่าข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนให้ทางคีย์บอร์ด

    รูปแบบวิธีการใช้

    1) READ (ชื่อตัวแปร);

    2) READLN (ชื่อตัวแปร);



ตัวดำเนินการ (Operators) ภาษาปาสคาล
ตัวดำเนินการ  (Operators)

        ตัวดำเนินการ  คือ  เครื่องหมายที่ใช้ในการดำเนินกรรมวิธี เช่น  เครื่องหมาย  บวก  ลบ  คูณ  หาร  ในภาษาปาสคาล  แบ่งออกเป็น  3  แบบ  คือ

1. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmatic  Operators)ใช้กับข้อมูลที่เป็นตัวเลขให้ผลจาการดำเนินการทางคณิตศาสตร์  มีอยู่  6  ตัว  คือ

ตัวแปร (Variables) ภาษาปาสคาล
ตัวแปร  (Variables)
        ตัวแปร  หมายถึง  ชื่อหน่วยความจำที่ผู้เขียนโปรแกรมตั้งขึ้นเพื่อใช้อ้างถึงข้อมูลที่เก็บเอาไว้  การตั้งชื่อตัวแปรจะตั้งเป็นภาษาอังกฤษด้วยอักษรตัวเดียว  หรือหลายตัวก็ได้  
การกำหนดค่าให้กับตัวแปร
        การกำหนดค่าให้กับตัวแปรจะกำหนดไว้ในส่วนของข้อกำหนด  เช่น
                VAR
                        Num  :  Interger;
                        Ch     :  Char;
                        Name  :  String[30];
คำในภาษา Pascal
คำในภาษา Pascal

        คำในภาษา Pascal  ตั้งขึ้นจากชื่อ  (Identifier)  ซึ่งอาจเป็นคำเดิมหรือคำที่ผู้เขียนโปรแกรมตั้งขึ้น  แบ่งเป็น  2  พวก  คือ

1. พวกที่เกี่ยวกับข้อมูล  ได้แก่แบบของข้อมูล  ตัวแปร  และค่าคงที่

2. พกที่เกี่ยวกับคำสั่ง  ได้แก่

การตั้งชื่อให้กับโปรแกรมภาษาปาสคาล
การตั้งชื่อให้กับโปรแกรม

         ชื่อ (Identifier)  คือคำที่ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดให้เป็นชื่อของโปรแกรม  โปรแกรมย่อย  ตัวแปร  แบบของข้อมูล  ค่าคงที่  และอักขระ (Character)  ที่สามารถนำมาใช้ตั้งชื่อได้คือ  ตัวอักษร  ตัวเลข  และขีดล่าง  เท่านั้น  จะนำเครื่องหมายใด ๆ มาใช้เป็นชื่อเป็นชื่อไม่ได้  และจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือขีดล่างเท่านั้น  ไม่ให้ขึ้นต้นด้วยตัวเลข  ความยาวของชื่อที่สั้นที่สุดคือ  1  ตัวอักษร  ส่วนชื่อที่ยาวที่สุดในภาษา  Pascal  มาตรฐานกำหนดไว้ว่าไม่เกิน  30  ตัวอักษรแต่จะมีความหมายเพียง  8  ตัวแรก  สำหรับเทอร์โบปาสคาลกำหนดไว้ไม่เกิน  127  ตัวอักษรแต่จะมีความหมายเพียง  63  ตัวแรก  เช่น


รูปแบบและโครงสร้างของภาษา Pascal
รูปแบบและโครงสร้างของภาษา  Pascal
        ภาษา  Pascal  เป็นภาษาสนับสนุนให้เขียนโปรแกรมแบบเป็นโมดูล  (Modular  Programming)  เป็นภาษาที่ต้องเขียนโปรแกรมเป็นโครงสร้าง  (Structure  Programming)  และเป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมในแบบเรียกตนเอง (Recursion) ได้โครงสร้างของภาษา  Pascal  แบ่งออกเป็น  3  ส่วน  คือ
        1. ส่วนหัว  (Heading)  คือส่วนที่ขึ้นต้นด้วย  คำว่า  PROGRAM  ไปจนถึงเครื่อง  ;  (Samicolon  เรียกว่าเครื่องหมาย เซมิโคล อน)  เป็นคำสั่งบรรทัดแรกของโปรแกรมนี้
ประวัติภาษาปาสคาล
ประวัติภาษาปาสคาล

              งานเขียนโปรแกรม คือ  การเรียบเรียงคำสั่งที่เราต้องการให้เครื่องปฏิบัติตามเงื่อนไข  และขั้นตอนก่อนหลังที่ต้องการให้เครื่อปฏิบัติภาษาปาสคาล  (Pascal)  เป็นภาษาที่ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นภาษาสำรหัสเรียนเขียนโปรแกรม  โดย  ดร.เวียรต์ (Professor  Doctor  Niklaus  Wirth)  แห่ง  Swiss  Federal  Institute  of  Technology  เป็นผู้สร้างภาษานี้เมื่อประมาณปี  พ.ศ.2514  ได้กล่าวว่า  "เพื่อให้มีภาษาสำหรับฝึกเขียนโปรแกรมอย่างมีระบบและมีระเบียบ  จึงได้สร้างภาษานี้ขึ้นมา"แต่ตัวภาษาปาสคาลเองก็มีสมรรถนะไม่ได้ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาสูงอื่น ๆ และดีกว่าอีกหลายภาษาด้วย  การศึกษาภาษาปาสคาลจึงได้ทั้งภาษาที่จะใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงและวิธีการเขียนโปรแกรมที่ถูกต้องเพื่อนำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมในภาษาสูงอื่นและภาษาเครื่อง  รวมทั้งซอฟต์แวร์กึ่งสำเร็จรูป  เช่น   dBASE  ต่อไปได้ชื่อของภาษาคือคำว่า  Pascal  ก็แตกต่างกับภาษาอื่น  ที่ส่วนมากเป็นคำย่อ  เช่น  BASIC  ย่อมาจาก  Beginners'  All-purpose  Symbolic  Instruction  Code  ส่วน  FORTRAN  ย่อมาจาก  Formula  Translation   คำว่า  Pascal  ดร.เวียร์ต  ได้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่  Blaise  Pascal  (พ.ศ.2165 - 2205) นักคณิตศาสตร์และปรัชญาเมธีชาวฝรั่งเศสผู้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกของโลกตัวภาษา  Pascal  ได้พัฒนามาจากภาษา  ALGOL  (Algoritmic  Language)  จึงมีส่วนคล้ายกันมาก  นอกจากนี้ ดร.เวียร์ตยังได้พัฒนาภาษาต่อจากภาษาปาสคาลให้ชื่อว่า  MODULA2  กระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ใช้ภาษา Pascal  เป็นพื้นฐานในการพัฒนาภาษาใหม่โดยให้ชื่อว่า  Ada  (เพื่อเป็นเกียรติแก่เจ้าหญิง  Ada  Agusta  Lovelace  นักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก)  ซึ่งคาดว่าจะเป็นภาษาที่สำตัญและจะใช้กันอย่างแพร่หลายในอนาคต  แต่เป็นภาษาที่ใหญ่โครงสร้างซับซ้อน  การศึกษาภาษา  Pascal  จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างจำเป็นสำหรับปัจจุบันเพื่ออนาคต
2.จุดเด่นของภาษาปาสคาล(PASCAL)
2.จุดเด่นของภาษาปาสคาล(PASCAL)
  คุณสมบัติปาสคาลได้แก่
1. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทคอมไพเลอร์ (compiler)
2. มีเอดิเตอร์ (editor) รวมอย่างกับคอมไพเลอร์ ช่วยให้สามารถสร้าง แก้ไข และปรับปรุงโปรแกรมได้สะดวก รวดเร็ว
ภาษาปาสกาล
ภาษาปาสกาล
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด
ภาษาปาสกาล เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในวงการศึกษา คิดค้นขึ้นโดย นิเคลาส์ แวร์ท (Niklaus Wirth) นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1970 เพื่อช่วยในการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (structured programming) ภาษาปาสกาลนั้นพัฒนาขึ้นมาจาก ภาษาอัลกอล (Algol), และชื่อปาสกาลนั้น ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ แบลส ปาสกาล (Blaise Pascal) นอกเหนือจากภาษาปาสกาลแล้ว แวร์ทได้พัฒนา ภาษาโมดูลาทู (Modula-2) และ โอบีรอน (Oberon) ซึ่งมีโครงสร้างคล้ายกับภาษาปาสกาล แต่สามารถรองรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming).
โครงสร้างอย่างง่าย[แก้]

โปรแกรมภาษาปาสกาลทุกอัน จะเริ่มต้นด้วยคีย์เวิร์ด Program และส่วนของโค้ดจะอยู่ระหว่างคีย์เวิร์ด Begin และ End ภาษาปาสกาลนั้นไม่สนใจความแตกต่างระหว่างตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก ("end" มีผลเท่ากับ "End"). เซมิโคลอน (;) ใช้เพื่อแบ่งคำสั่ง และ มหัพภาค(.) ใช้เมื่อจบโปรแกรม (หรือยูนิต)
ภาษาปาสกาลเป็นภาษาที่มีโครงสร้างที่ตายตัว เช่นการประกาศตัวแปร จะอยู่ระหว่าง Program กับ Begin โดยไม่สามารถไปประกาศที่อื่นได้เหมือนกับภาษา VB,C หรือภาษาอื่น ๆ ทำให้ผู้เรียนได้ทราบถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรมที่ถูกต้อง เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบในภายหลัง
ประวัติภาษาปาสคาล
ประวัติภาษาปาสคาล
ภาษาปาสคาลพัฒนาโดย Niklaus Wirth ในปีค.ศ. 1970 ได้รับความนิยมในสมัยนั้น เนื่องมาจากตัวภาษามีลักษณะเด่นหลายด้าน เช่น รูปแบบคำสั่งที่มีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษ ง่ายต่อการเขียน และการจดจำ นอกจากนี้โปรแกรมยังมีลักษณะที่เป็นโครงสร้าง (Structure Programing) ง่ายต่อการศึกษา มีตัวแปลภาษา(Compiler) ในหลายระบบปฎิบัติการ เหมาะกับงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีการคำนวณซับซ้อน และเหมาะกับการเริ่มต้นเขียนโปรแกรมเป็นครั้งแรก
ภาษาปาสคาล
ภาษาปาสคาล
       ภาษาปาสคาลสร้างขึ้นเพื่อใช้สอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เป็นระบบและมีระเบียบเป็นโครงสร้างเนื่องจากเป็นภาษาที่มีรูปแบบง่าย ต่อความเข้าใจ เขียนเป็นโปรแกรมได้เร็วแก้ไขปรับปรุงง่าย   ผู้สร้างภาษานี้คือ ดร.เวียร์ เมื่อประมาณปี พ.ศ.2514 ซึ่งหลังจากออกแบบแล้ว ได้มีผู้นำไปเขียนเป็น โปรแกรมตัวแปร
(COMPILER) โดยที่ตัวแปรที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ TURBO PASCAL ของบริษัทบอร์แลนด์และปัจจุบันได้ถูกพัฒนาไปเรื่อยๆ  
ใบงานที่ 3 คำสั่งควบคุมการแสดงผล


ข้อที่ 1 ข้อมูลประเภท byte เก็บข้อมูลในช่วงใด
 0-255
 0-65535
 ตัวอักษร 1 ตัว
 -32768-32767
 ยังไม่ตอบ
ข้อที่ 2 หากต้องการสร้างตัวแปรเพื่อเก็บอายุของมนุษย์ไม่ควรใช้ตัวแปรชนิดใด
 real
 byte
 char
 integer
 ยังไม่ตอบ
ข้อที่ 3 2.5600000000E+02 มีค่าเท่ากับข้อใด
 256
 25.6
 2.56
 2560
 ยังไม่ตอบ
ข้อที่ 4 ตัวแปรชนิดใดไม่สามารถคำนวณได้
 real
 byte
 string
 integer
 ยังไม่ตอบ
ข้อที่ 5 คำสั่ง writeln(2.31:0:3); จะแสดงผลตรงกับข้อใด
 2
 2.31
 2.310
 2.3100000000E+00
 ยังไม่ตอบ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาล ภาษาปาสคาล




แหล่งข้อมูลอ้างอิง

ข้อมูลภาษาปาสคาล
http://th.wikipedia.org/wiki คำค้น "ภาษาปาสคาล"
th.wikipedia.org/wiki/ภาษาปาสกาล
18/05/2553

ภาพ Blaise Pascal
http://www.faydalibilgiler.com/Resimler/Resimler/TC4XCQ58ODBlaise-Pascal.gif
18/05/2554

ภาพ Niklaus Wirth
http://en.wikipedia.org/wiki/Niklaus_Wirth
18/05/2554