หลักธรรม ความสอดคล้องของหลักธรรมของศาสนา
หลักธรรม ความสอดคล้องของหลักธรรมของศาสนา |
ศาสนามีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของบุคคลในสังคม เพราะศาสนาทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายเพื่อให้
ทำความดีละเว้นความชั่ว ศาสนาจึงมีอิทธิพลต่อคนในสังคม
องค์ประกอบของศาสนา
1. ศาสดา คือ ผู้ก่อตั้งศาสนา
2. คัมภีร์ คือ หลักคำสอนเกี่ยวกับศีลธรรมจรรยา
3. นักบวช คือ ผู้สืบทอดคำสอน
4. พิธีกรรม คือ การปฏิบัติในการทำพิธีทางศาสนา
5. ศาสนสถาน คือ สถานที่ควรเคารพบูชาและใช้ประกอบพิธีทางศาสนา
องค์ประกอบของศาสนา
1. ศาสดา คือ ผู้ก่อตั้งศาสนา
2. คัมภีร์ คือ หลักคำสอนเกี่ยวกับศีลธรรมจรรยา
3. นักบวช คือ ผู้สืบทอดคำสอน
4. พิธีกรรม คือ การปฏิบัติในการทำพิธีทางศาสนา
5. ศาสนสถาน คือ สถานที่ควรเคารพบูชาและใช้ประกอบพิธีทางศาสนา
**ศาสนาอิสลาม ไม่มีนักบวช แต่มีศาสดา มีคัมภีร์ มีศาสนสถาน และพิธีกรรม นับเป็นศาสนาเช่นกัน**
ความสำคัญของศาสนา
1. เป็นพื้นฐานของกฎศีลธรรมของสังคม
2. เป็นแหล่งกำเนิดจริยธรรม
3. เป็นแหล่งที่ทำให้เกิดศิลปวัฒนธรรม และประเพณี
4. เป็นกลไกของรัฐในการควบคุมสังคม
5. เป็นบรรทัดฐานของสังคมที่ใช้ในการปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปในแนวเดียวกัน
1. เป็นพื้นฐานของกฎศีลธรรมของสังคม
2. เป็นแหล่งกำเนิดจริยธรรม
3. เป็นแหล่งที่ทำให้เกิดศิลปวัฒนธรรม และประเพณี
4. เป็นกลไกของรัฐในการควบคุมสังคม
5. เป็นบรรทัดฐานของสังคมที่ใช้ในการปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปในแนวเดียวกัน
ประโยชน์ของศาสนา
1. ช่วยให้สมาชิกของสังคมสงบสุข
2. ทำให้ผู้นับถือเป็นคนดี มีศีลธรรม
3. เป็นบ่อเกิดของศิลปวัฒนธรรม
4. เป็นที่พึ่งทางจิตใจของสมาชิกในสังคม
5. เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตเพื่อให้เกิดความสุข
1. ช่วยให้สมาชิกของสังคมสงบสุข
2. ทำให้ผู้นับถือเป็นคนดี มีศีลธรรม
3. เป็นบ่อเกิดของศิลปวัฒนธรรม
4. เป็นที่พึ่งทางจิตใจของสมาชิกในสังคม
5. เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตเพื่อให้เกิดความสุข
ศาสนาที่สำคัญของโลก
1. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์
แหล่งกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นศาสนาดั้งเดิมของชนเผ่าอารยัน มีความเชื่อเรื่องพระเจ้าหลายองค์
ศาสนาพราหมณ์
แหล่งกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นศาสนาดั้งเดิมของชนเผ่าอารยัน มีความเชื่อเรื่องพระเจ้าหลายองค์
โดยเฉพาะตรีมูรติ (พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ) ต่อมาวิวัฒนาการเป็นศาสนาฮินดู
เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์
- เทพเจ้าสูงสุด คือ พระปรมาตมัน
- ความเชื่อเกี่ยวกับตรีมูรติ คือ พระพรหม คือ ผู้สร้าง พระวิษณุ(พระนารายณ์) คือ ผู้คุ้มครอง
และพระอิศวร(พระศิวะ) คือ ผู้ทำลาย
- คัมภีร์พระเวท มีอยู่ 3 คัมภีร์ ถือว่าเป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ต่อมาเพิ่มอาถรรพเวทเข้าไป ได้แก่
ฤคเวท (บทสวดสรรเสริญเทพเจ้า)
ยชุรเวท(คู่มือพราหมณ์ในการทำพิธีบูชายัญ)
สามเวท (ใช้สวดขับกล่อมเทพเจ้า)
อาถรรพเวท (เป็นมนต์คาถาทางไสยศาสตร์)
ศาสนาฮินดู
ความเชื่อศาสนาฮินดูที่แตกต่างไปจากศาสนาพราหมณ์ ได้แก่
- เชื่อเรื่องวิญญาณเป็นอนันตะ คือเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุดจนกว่าจะหลุดพ้นโมกษะ
- ให้คนที่เกิดในตระกูลพราหมณ์ กษัตริย์ ไวศยะ ปฏิบัติตามหลักอาศรม 4 อย่างเคร่งครัด
- สันติสุขจะเกิดขึ้นได้ต้องมีพราหมณ์ คัมภีร์พระเวท วรรณะ 4 ได้แก่ วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณไวศยะ(แพทย์) และวรรณะศูทร
นิกายในศาสนาฮินดู
1. นิกายพรหม นับถือพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด
2. นิกายไวษณพ (ลัทธิอวตาร) นับถือพระวิษณ
3. นิกายไศวะ นับถือพระศิวะ มีศิวลึงค์เป็นสัญลักษณ์
4. นิกายศากติ นับถือเทพเจ้าที่เป็นสตรี
เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์
- เทพเจ้าสูงสุด คือ พระปรมาตมัน
- ความเชื่อเกี่ยวกับตรีมูรติ คือ พระพรหม คือ ผู้สร้าง พระวิษณุ(พระนารายณ์) คือ ผู้คุ้มครอง
และพระอิศวร(พระศิวะ) คือ ผู้ทำลาย
- คัมภีร์พระเวท มีอยู่ 3 คัมภีร์ ถือว่าเป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ต่อมาเพิ่มอาถรรพเวทเข้าไป ได้แก่
ฤคเวท (บทสวดสรรเสริญเทพเจ้า)
ยชุรเวท(คู่มือพราหมณ์ในการทำพิธีบูชายัญ)
สามเวท (ใช้สวดขับกล่อมเทพเจ้า)
อาถรรพเวท (เป็นมนต์คาถาทางไสยศาสตร์)
ศาสนาฮินดู
ความเชื่อศาสนาฮินดูที่แตกต่างไปจากศาสนาพราหมณ์ ได้แก่
- เชื่อเรื่องวิญญาณเป็นอนันตะ คือเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุดจนกว่าจะหลุดพ้นโมกษะ
- ให้คนที่เกิดในตระกูลพราหมณ์ กษัตริย์ ไวศยะ ปฏิบัติตามหลักอาศรม 4 อย่างเคร่งครัด
- สันติสุขจะเกิดขึ้นได้ต้องมีพราหมณ์ คัมภีร์พระเวท วรรณะ 4 ได้แก่ วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณไวศยะ(แพทย์) และวรรณะศูทร
นิกายในศาสนาฮินดู
1. นิกายพรหม นับถือพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด
2. นิกายไวษณพ (ลัทธิอวตาร) นับถือพระวิษณ
3. นิกายไศวะ นับถือพระศิวะ มีศิวลึงค์เป็นสัญลักษณ์
4. นิกายศากติ นับถือเทพเจ้าที่เป็นสตรี
หลักธรรมของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
1. หลักธรรม 10 ประการ
1. ธฤติ คือ ความพอใจ 6. อินทรียนิครหะ คือ การสำรวมอินทรีย์(ร่างกาย)
2. กษมา คือ ความอดทน 7. ธี คือ ความรู้ (ปัญญา)
3. ทมะ คือ ความข่มใจ 8. วิทยา คือ ความรู้ (ปรัชญา)
4. อัสเตยะ คือ การไม่กระทำเยี่ยงโจร 9. สัตยะ คือ ความซื่อสัตย์
5. เศาจะ คือ ความบริสุทธิ์ 10. อโกธะ คือ ความไม่โกรธ
2. หลักอาศรม 4
1. พรหมจารี คือ เป็นวัยศึกษาเล่าเรียน
2. คฤหัสถ์ คือ เป็นวัยครองเรือน
3. วานปรัสถ์ คือ เป็นวัยออกไปอยู่ป่า
4. สันยาสี คือ เป็นวัยสุดท้ายของชีวิต ออกบวชเป็นสันยาสี บำเพ็ญเพียรเพื่อความหลุดพ้น
3. หลักปรมาตมัน และโมกษะ
1. หลักปรมาตมัน มีความเชื่อว่า ปรมาตมัน หมายถึง พลังธรรมชาติ เป็นอมตะไม่มีเบื้องต้นและสิ้นสุด
ส่วนวิญญาณย่อยเรียกว่า อาตมัน สามารถไปรวมกับปรมาตมันได้เมื่อบรรลุโมกษะ
2. หลักโมกษะ เป็นหลักปฏิบัติเพื่อหลุดพ้นจากวัฏจักรแห่งชีวิต ด้วยการนำอาตมันของตนเข้าสู่ปรมาตมัน
4. หลักปรัชญาภควัทคีตา ได้แก่
1. กรรมโยคะ การทำความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน
2. ชยานโยคะ การปฏิบัติเพื่อให้เกิดปัญหา ความรู้แจ้ง
3. ภักติโยคะ ความรัก ความภักดีอุทิศตนต่อพระเจ้าเพื่อนำไปสู่การหลุดพ้น
5. หลักทรรศนะหก ได้แก่
1. สางขยะ ทรรศนะเกี่ยวกับชีวิต
2. โยคะ ทรรศนะเกี่ยวกับการปฏิบัติโดยสำรวมอินทรีย์ ทำจิตใจให้บริสุทธิ์
3. นยายะ ทรรศนะเกี่ยวกับความรู้
4. ไวเศษิกะ ทรรศนะเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่จริงชั่วนิรันดร 9 อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ กาละเทศะ อาตมัน มนะ
5. มางสา ทรรศนะเกี่ยวกับปรัชญาน่าเชื่อถือ
6. เวทานตะ ทรรศนะเกี่ยวกับอุปนิษัท
(อุปนิษัท คือ คัมภีร์ในส่วนสุดท้ายของพระเวท เป็นคัมภีร์ที่เป็นหลักปรัชญาลึกซึ้ง)
พิธีกรรมที่สำคัญของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
1. พิธีศราทธ์ คือ พิธีทำบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
2. พิธีประจำบ้าน ได้แก่
- พิธีอุปนยัน คือ พิธีเริ่มการศึกษา ถ้าเป็นหญิงยกเว้น
- พิธีวิวาหะ คือ พิธีแต่งงาน
3. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ ศูทร
แต่ละวรรณะมีการดำเนินชีวิตที่ต่างกันจึงต้อง ปฏิบัติตามวรรณะของตน เช่น การแต่งงาน การแต่งกาย เป็นต้น
4. พิธีบูชาเทพเจ้า แต่ละวรรณะจะมีการปฏิบัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานศิวะราตรี(พิธีลอยบาป)
งานบูชาเจ้าแม่ลักษมี (เทวีแห่งสมบัติและความงาม) เป็นต้น
2. ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย ประเภทอเทวนิยม (ไม่นับถือพระเจ้า) มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา
คัมภีร์ของศาสนาพุทธ คือ พระไตรปิฎก หมายถึงตำราที่บันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้า แบ่งออกเป็น 3 คัมภีร์ คือ
1. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยศีลหรือวินัยของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
2. พระสุตตันตปิฎก (พระสูตร) ว่าด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้าและสาวก รวมทั้งชาดกต่าง ๆ
3. พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยหลักธรรมล้วน ๆ
1. หลักธรรม 10 ประการ
1. ธฤติ คือ ความพอใจ 6. อินทรียนิครหะ คือ การสำรวมอินทรีย์(ร่างกาย)
2. กษมา คือ ความอดทน 7. ธี คือ ความรู้ (ปัญญา)
3. ทมะ คือ ความข่มใจ 8. วิทยา คือ ความรู้ (ปรัชญา)
4. อัสเตยะ คือ การไม่กระทำเยี่ยงโจร 9. สัตยะ คือ ความซื่อสัตย์
5. เศาจะ คือ ความบริสุทธิ์ 10. อโกธะ คือ ความไม่โกรธ
2. หลักอาศรม 4
1. พรหมจารี คือ เป็นวัยศึกษาเล่าเรียน
2. คฤหัสถ์ คือ เป็นวัยครองเรือน
3. วานปรัสถ์ คือ เป็นวัยออกไปอยู่ป่า
4. สันยาสี คือ เป็นวัยสุดท้ายของชีวิต ออกบวชเป็นสันยาสี บำเพ็ญเพียรเพื่อความหลุดพ้น
3. หลักปรมาตมัน และโมกษะ
1. หลักปรมาตมัน มีความเชื่อว่า ปรมาตมัน หมายถึง พลังธรรมชาติ เป็นอมตะไม่มีเบื้องต้นและสิ้นสุด
ส่วนวิญญาณย่อยเรียกว่า อาตมัน สามารถไปรวมกับปรมาตมันได้เมื่อบรรลุโมกษะ
2. หลักโมกษะ เป็นหลักปฏิบัติเพื่อหลุดพ้นจากวัฏจักรแห่งชีวิต ด้วยการนำอาตมันของตนเข้าสู่ปรมาตมัน
4. หลักปรัชญาภควัทคีตา ได้แก่
1. กรรมโยคะ การทำความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน
2. ชยานโยคะ การปฏิบัติเพื่อให้เกิดปัญหา ความรู้แจ้ง
3. ภักติโยคะ ความรัก ความภักดีอุทิศตนต่อพระเจ้าเพื่อนำไปสู่การหลุดพ้น
5. หลักทรรศนะหก ได้แก่
1. สางขยะ ทรรศนะเกี่ยวกับชีวิต
2. โยคะ ทรรศนะเกี่ยวกับการปฏิบัติโดยสำรวมอินทรีย์ ทำจิตใจให้บริสุทธิ์
3. นยายะ ทรรศนะเกี่ยวกับความรู้
4. ไวเศษิกะ ทรรศนะเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่จริงชั่วนิรันดร 9 อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ กาละเทศะ อาตมัน มนะ
5. มางสา ทรรศนะเกี่ยวกับปรัชญาน่าเชื่อถือ
6. เวทานตะ ทรรศนะเกี่ยวกับอุปนิษัท
(อุปนิษัท คือ คัมภีร์ในส่วนสุดท้ายของพระเวท เป็นคัมภีร์ที่เป็นหลักปรัชญาลึกซึ้ง)
พิธีกรรมที่สำคัญของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
1. พิธีศราทธ์ คือ พิธีทำบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
2. พิธีประจำบ้าน ได้แก่
- พิธีอุปนยัน คือ พิธีเริ่มการศึกษา ถ้าเป็นหญิงยกเว้น
- พิธีวิวาหะ คือ พิธีแต่งงาน
3. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ ศูทร
แต่ละวรรณะมีการดำเนินชีวิตที่ต่างกันจึงต้อง ปฏิบัติตามวรรณะของตน เช่น การแต่งงาน การแต่งกาย เป็นต้น
4. พิธีบูชาเทพเจ้า แต่ละวรรณะจะมีการปฏิบัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานศิวะราตรี(พิธีลอยบาป)
งานบูชาเจ้าแม่ลักษมี (เทวีแห่งสมบัติและความงาม) เป็นต้น
2. ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย ประเภทอเทวนิยม (ไม่นับถือพระเจ้า) มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา
คัมภีร์ของศาสนาพุทธ คือ พระไตรปิฎก หมายถึงตำราที่บันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้า แบ่งออกเป็น 3 คัมภีร์ คือ
1. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยศีลหรือวินัยของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
2. พระสุตตันตปิฎก (พระสูตร) ว่าด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้าและสาวก รวมทั้งชาดกต่าง ๆ
3. พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยหลักธรรมล้วน ๆ
นิกายสำคัญของศาสนาพุทธ
1. นิกายเถรวาท หรือหีนยาน
ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพระธรรมวินัย
ประเทศที่นับถือ ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ลาว กัมพูชา
2. นิกายอาจริยวาท หรือมหายาน
ดัดแปลงพระธรรมวินัยได้ ประเทศที่นับถือ ได้แก่ จีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม เกาหลี
1. นิกายเถรวาท หรือหีนยาน
ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพระธรรมวินัย
ประเทศที่นับถือ ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ลาว กัมพูชา
2. นิกายอาจริยวาท หรือมหายาน
ดัดแปลงพระธรรมวินัยได้ ประเทศที่นับถือ ได้แก่ จีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม เกาหลี
หลักคำสอนของศาสนาพุทธ
1. อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ
- ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
- สมุทัย คือ เหตุของความเป็นทุกข์ ได้แก่ ตัณหา
- นิโรธ คือ ความดับทุกข์ หรือนิพพาน
- มรรค คือ ข้อปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความดับทุกข์ หมายถึง อริยมรรค 8 ประกอบด้วย
1. สัมมาทิฐิ คือ ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ
3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำชอบ
5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ คือ ความพยายามชอบ
7. สัมมาสติ คือ การตั้งสติชอบ 8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจชอบ
1. อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ
- ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
- สมุทัย คือ เหตุของความเป็นทุกข์ ได้แก่ ตัณหา
- นิโรธ คือ ความดับทุกข์ หรือนิพพาน
- มรรค คือ ข้อปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความดับทุกข์ หมายถึง อริยมรรค 8 ประกอบด้วย
1. สัมมาทิฐิ คือ ความเห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความดำริชอบ
3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ คือ การกระทำชอบ
5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ คือ ความพยายามชอบ
7. สัมมาสติ คือ การตั้งสติชอบ 8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจชอบ
อริยมรรค 8 เมื่อสรุปรวมแล้วเรียกว่า ไตรสิกขา อันได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
2. ขันธ์ 5 หรือเบญจขันธ์ หมายถึง องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย และส่วนที่เป็นจิตใจ ได้แก่
1. รูปขันธ์ คือ ร่างกายและพฤติกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วยธาตุ 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ
2. วิญญาณขันธ์ คือ ความรู้อารมณ์ที่ผ่านมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
3. เวทนาขันธ์ คือ ความรู้สึก ซึ่งเป็นผลมาจากสุขเวทนา ความสุขทางกายและใจ ,
ทุกขเวทนา คือ ทุกข์ทางกายและใจ ,อุเบกขาเวทนา คือ ความไม่ทุกข์ไม่สุขทางกายและใจ
4. สัญญาขันธ์ คือ การกำหนดได้ 6 อย่างจากวิญญาณและเวทนา คือ รูป รส กลิ่น เสียง
5. สังขารขันธ์ คือ ความคิด แรงจูงใจ สภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดี คิดชั่ว เป็นผลมาจากวิญญาณและเวทนา
1. รูปขันธ์ คือ ร่างกายและพฤติกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วยธาตุ 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ
2. วิญญาณขันธ์ คือ ความรู้อารมณ์ที่ผ่านมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
3. เวทนาขันธ์ คือ ความรู้สึก ซึ่งเป็นผลมาจากสุขเวทนา ความสุขทางกายและใจ ,
ทุกขเวทนา คือ ทุกข์ทางกายและใจ ,อุเบกขาเวทนา คือ ความไม่ทุกข์ไม่สุขทางกายและใจ
4. สัญญาขันธ์ คือ การกำหนดได้ 6 อย่างจากวิญญาณและเวทนา คือ รูป รส กลิ่น เสียง
5. สังขารขันธ์ คือ ความคิด แรงจูงใจ สภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดี คิดชั่ว เป็นผลมาจากวิญญาณและเวทนา
3. ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะทั่วไปของสิ่งทั้งหลายทั้งปวงในโลก ได้แก่
1. อนิจจตา คือ ความไม่เที่ยง
2. ทุกขตา คือ ความเป็นทุกข์
3. อนัตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตน
3. ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์กำเนิดในดินแดนปาเลสไตน์ หรืออิสราเอลในปัจจุบัน ศาสดาคือพระเยซู
ซึ่งเป็นบุตรของโยเซพและมาเรีย เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดวิวัฒนาการมาจากศาสนายูดาย จึงมีพระเจ้า
หรือที่เรียกว่า พระยะโฮวาห์
คัมภีร์ของศาสนาคริสต์ คือ คัมภีร์ไบเบิล ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
- พระคัมภีร์เก่า มีสาระเกี่ยวกับพระเจ้าสร้างโลก ซึ่งประกอบด้วย บทเพลง บทสวด และสุภาษิต
- พระคัมภีร์ใหม่ เป็นคัมภีร์ที่มีสาระเกี่ยวกับประวัติและคำสอนของพระเยซู การเผยแผ่ศาสนาของสาวก
จดหมายเหตุ และวิวรณ์ บั้นปลายชีวิตของมนุษยชาติ
1. อนิจจตา คือ ความไม่เที่ยง
2. ทุกขตา คือ ความเป็นทุกข์
3. อนัตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตน
3. ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์กำเนิดในดินแดนปาเลสไตน์ หรืออิสราเอลในปัจจุบัน ศาสดาคือพระเยซู
ซึ่งเป็นบุตรของโยเซพและมาเรีย เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดวิวัฒนาการมาจากศาสนายูดาย จึงมีพระเจ้า
หรือที่เรียกว่า พระยะโฮวาห์
คัมภีร์ของศาสนาคริสต์ คือ คัมภีร์ไบเบิล ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
- พระคัมภีร์เก่า มีสาระเกี่ยวกับพระเจ้าสร้างโลก ซึ่งประกอบด้วย บทเพลง บทสวด และสุภาษิต
- พระคัมภีร์ใหม่ เป็นคัมภีร์ที่มีสาระเกี่ยวกับประวัติและคำสอนของพระเยซู การเผยแผ่ศาสนาของสาวก
จดหมายเหตุ และวิวรณ์ บั้นปลายชีวิตของมนุษยชาติ
นิกายที่สำคัญของศาสนาคริสต์
1. นิกายโรมันคาทอลิก เป็นนิกายที่นับถือและปฏิบัติตามคำสอนของพระเยซู มีพิธีกรรมที่เคร่งครัด
มีสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนาสูงสุด ประเทศที่นับถือ ได้แก่ ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี สเปน โปรตุเกส ฟิลิปปินส์
ผู้ที่นับถือเรียกตนเองว่า คริสตัง
2. นิกายออร์โธดอกซ์ เป็นนิกายที่แยกจากนิกายโรมันคาทอลิก ด้วยเหตุผลทางการเมืองและวัฒนธรรม
ประเทศที่นับถือ ได้แก่ กรีซ โรมาเนีย บัลแกเรีย สหภาพโซเวียต และประเทศในยุโรปตะวันออกบางประเทศ
3. นิกายโปรแตสแตนต์ เป็นนิกายที่แยกมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ผุ้ก่อตั้งคือ มาติน ลูเธอร์
พิธีกรรมที่สำคัญคือ ศีลล้างบาป และศีลมหาสนิท ผู้ที่นับถือนิกายนี้เรียกว่า คริสเตียน
1. นิกายโรมันคาทอลิก เป็นนิกายที่นับถือและปฏิบัติตามคำสอนของพระเยซู มีพิธีกรรมที่เคร่งครัด
มีสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนาสูงสุด ประเทศที่นับถือ ได้แก่ ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี สเปน โปรตุเกส ฟิลิปปินส์
ผู้ที่นับถือเรียกตนเองว่า คริสตัง
2. นิกายออร์โธดอกซ์ เป็นนิกายที่แยกจากนิกายโรมันคาทอลิก ด้วยเหตุผลทางการเมืองและวัฒนธรรม
ประเทศที่นับถือ ได้แก่ กรีซ โรมาเนีย บัลแกเรีย สหภาพโซเวียต และประเทศในยุโรปตะวันออกบางประเทศ
3. นิกายโปรแตสแตนต์ เป็นนิกายที่แยกมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ผุ้ก่อตั้งคือ มาติน ลูเธอร์
พิธีกรรมที่สำคัญคือ ศีลล้างบาป และศีลมหาสนิท ผู้ที่นับถือนิกายนี้เรียกว่า คริสเตียน
หลักคำสอนของศาสนาคริสต์
1. หลักคำสอน เรื่องตรีเอกานุภาพ คือ การนับถือพระเจ้าองค์เดียว แบ่งเป็น 3 ภาค คือ
- พระบิดา หมายถึง พระเจ้า
- พระบุตร หมายถึง พระเยซู
- พระจิต หมายถึง วิญญาณบริสุทธิ์ในจิตใจของชาวคริสต์ที่มีศรัทธา
2. หลักคำสอนเรื่องความรัก ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ได้ชื่อว่าเป็นศาสนาแห่งความรัก สอนให้รักพระเจ้า
รักเพื่อนมนุษย์เหมือนรักตัวเอง
3. คำสอนเรื่องบัญญัติ 10 ประการ ได้แก่
- จงนับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระยะโฮวาห์
- อย่าออกนามพระเจ้าโดยไม่สมเหตุ
- ถือวันพระเจ้าเป็นวันศักดิ์สิทธิ์
- จงนับถือบิดามารดา
- อย่าฆ่าคน
- อย่าผิดประเวณี
- อย่าลักทรัพย์
- อย่าใส่ความนินทาว่าร้ายผู้อื่น
- อย่าคิดมิชอบ
- อย่าโลภในสิ่งของผู้อื่น
4. อาณาจักรพระเจ้า หมายถึง อาณาจักรแห่งจิตใจที่มีพระเจ้าเป็นเป้าหมาย
1. หลักคำสอน เรื่องตรีเอกานุภาพ คือ การนับถือพระเจ้าองค์เดียว แบ่งเป็น 3 ภาค คือ
- พระบิดา หมายถึง พระเจ้า
- พระบุตร หมายถึง พระเยซู
- พระจิต หมายถึง วิญญาณบริสุทธิ์ในจิตใจของชาวคริสต์ที่มีศรัทธา
2. หลักคำสอนเรื่องความรัก ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ได้ชื่อว่าเป็นศาสนาแห่งความรัก สอนให้รักพระเจ้า
รักเพื่อนมนุษย์เหมือนรักตัวเอง
3. คำสอนเรื่องบัญญัติ 10 ประการ ได้แก่
- จงนับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระยะโฮวาห์
- อย่าออกนามพระเจ้าโดยไม่สมเหตุ
- ถือวันพระเจ้าเป็นวันศักดิ์สิทธิ์
- จงนับถือบิดามารดา
- อย่าฆ่าคน
- อย่าผิดประเวณี
- อย่าลักทรัพย์
- อย่าใส่ความนินทาว่าร้ายผู้อื่น
- อย่าคิดมิชอบ
- อย่าโลภในสิ่งของผู้อื่น
4. อาณาจักรพระเจ้า หมายถึง อาณาจักรแห่งจิตใจที่มีพระเจ้าเป็นเป้าหมาย
พิธีกรรมที่สำคัญของคริสต์ศาสนา
1. พิธีศีลจุ่ม กระทำแก่ทารกเมื่อเริ่มเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน โดยใช้น้ำศักดิ์สิทธิ์เทลงบนศีรษะเพื่อล้างบาป
2. พิธีศีลล้างบาป เป็นการยืนยันว่าตนยอมรับนับถือศาสนาคริสต์จริง
3. พิธีศีลมหาสนิท เป็นการรับประทานขนมปัง
และดื่มเหล้าองุ่นเพื่อระลึกถึงพราะเจ้าที่ทรงสละพระวรกายเพื่อมนุษย์จะได้หลุดพ้นจากบาป
4. พิธีศีลสมรส กระทำแก่คู่บ่าวสาวก่อนการจดทะเบียนสมรส
5. พิธีสารภาพบาป ต้องไปกระทำต่อหน้าบาทหลวงเพื่อสารภาพบาป
6. พิธีเจิมครั้งสุดท้าย กระทำแก่ผู้ป่วย
7. พิธีเข้าบวช เป็นการบวชบุคคลเป็นบาทหลวงในคริสต์ศาสนา
4.ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามกำเนิดที่นครมักกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย นับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระอัลเลาะห์
ศาสดาของศาสนาคือ พระนบีมุฮัมหมัด ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามเรียกตนเองว่า มุสลิม
1. พิธีศีลจุ่ม กระทำแก่ทารกเมื่อเริ่มเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน โดยใช้น้ำศักดิ์สิทธิ์เทลงบนศีรษะเพื่อล้างบาป
2. พิธีศีลล้างบาป เป็นการยืนยันว่าตนยอมรับนับถือศาสนาคริสต์จริง
3. พิธีศีลมหาสนิท เป็นการรับประทานขนมปัง
และดื่มเหล้าองุ่นเพื่อระลึกถึงพราะเจ้าที่ทรงสละพระวรกายเพื่อมนุษย์จะได้หลุดพ้นจากบาป
4. พิธีศีลสมรส กระทำแก่คู่บ่าวสาวก่อนการจดทะเบียนสมรส
5. พิธีสารภาพบาป ต้องไปกระทำต่อหน้าบาทหลวงเพื่อสารภาพบาป
6. พิธีเจิมครั้งสุดท้าย กระทำแก่ผู้ป่วย
7. พิธีเข้าบวช เป็นการบวชบุคคลเป็นบาทหลวงในคริสต์ศาสนา
4.ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามกำเนิดที่นครมักกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย นับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระอัลเลาะห์
ศาสดาของศาสนาคือ พระนบีมุฮัมหมัด ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามเรียกตนเองว่า มุสลิม
คัมภีร์ของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นคัมภีร์ที่พระผู้เป็นเจ้าประทานให้แก่มนุษย์
ศาสนาอิสลามมีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นคัมภีร์ที่พระผู้เป็นเจ้าประทานให้แก่มนุษย์
นิกายที่สำคัญของศาสนาอิสลาม
1. นิกายซุนนี จะปฏิบัติเคร่งครัดในคัมภีร์อัลกุรอานและคำสอนของศาสดาที่สุด ใช้หมวกสีขาวเป็นเครื่องหมาย
2. นิกายชีอะห์ ยกย่องอาลี ใช้หมวกสีแดงเป็นเครื่องหมาย
3. นิกายวาฮะบีห์ นับถือพระอัลเลาะห์เพียงองค์เดียว ไม่มีพิธีกรรมใด ๆ นอกเหนือจากพระคัมภีร์
1. นิกายซุนนี จะปฏิบัติเคร่งครัดในคัมภีร์อัลกุรอานและคำสอนของศาสดาที่สุด ใช้หมวกสีขาวเป็นเครื่องหมาย
2. นิกายชีอะห์ ยกย่องอาลี ใช้หมวกสีแดงเป็นเครื่องหมาย
3. นิกายวาฮะบีห์ นับถือพระอัลเลาะห์เพียงองค์เดียว ไม่มีพิธีกรรมใด ๆ นอกเหนือจากพระคัมภีร์
หลักคำสอนของศาสนาอิสลาม
1. หลักศรัทธา 6 ประการ
- ศรัทธาในพระอัลเลาะห์เพียงองค์เดียว
- ศรัทธาในบรรดามลาอีกะห์ คือ เทวทูต
- ศรัทธาในพระคัมภีร์
- ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
- ศรัทธาในวันพิพากษา
- ศรัทธาในกฎกำหนดสภาวการณ์
2. หลักปฏิบัติ 5 ประการ
1. การปฏิญาณตน ยอมรับว่าพระอัลเลาะห์เป็นพระเจ้าองค์เดียว
2. การละหมาด หรือ นมาซ วันละ 5 ครั้ง
3. การถือศีลอด หรือ อัศศิยาม หมายถึง การละหรืองดเว้นบริโภคอาหาร
4. การบริจาคซะกาต หมายถึง การบริจาคทานหรือบริจาคทรัพย์ที่ได้มาด้วยความสุจริตแก่ผู้ที่ควรรับซะกาต
5. การประกอบพิธีฮัจญ์ ณ วิหารกะบะห์ ที่เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
***ความสอดคล้องของหลักคำสอนทั้ง 4 ศาสนา ***ได้แก่
1. การทำความดี ละเว้นความชั่ว
2. การแสดงความรักความเมตตา และเสียสละ
3. การเสียสละเพื่อเพื่อนมนุษย์
4. การพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น ขยันหมั่นเพียร
5. สอนให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ไม่เบียดเบียนกัน
1. หลักศรัทธา 6 ประการ
- ศรัทธาในพระอัลเลาะห์เพียงองค์เดียว
- ศรัทธาในบรรดามลาอีกะห์ คือ เทวทูต
- ศรัทธาในพระคัมภีร์
- ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
- ศรัทธาในวันพิพากษา
- ศรัทธาในกฎกำหนดสภาวการณ์
2. หลักปฏิบัติ 5 ประการ
1. การปฏิญาณตน ยอมรับว่าพระอัลเลาะห์เป็นพระเจ้าองค์เดียว
2. การละหมาด หรือ นมาซ วันละ 5 ครั้ง
3. การถือศีลอด หรือ อัศศิยาม หมายถึง การละหรืองดเว้นบริโภคอาหาร
4. การบริจาคซะกาต หมายถึง การบริจาคทานหรือบริจาคทรัพย์ที่ได้มาด้วยความสุจริตแก่ผู้ที่ควรรับซะกาต
5. การประกอบพิธีฮัจญ์ ณ วิหารกะบะห์ ที่เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
***ความสอดคล้องของหลักคำสอนทั้ง 4 ศาสนา ***ได้แก่
1. การทำความดี ละเว้นความชั่ว
2. การแสดงความรักความเมตตา และเสียสละ
3. การเสียสละเพื่อเพื่อนมนุษย์
4. การพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น ขยันหมั่นเพียร
5. สอนให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ไม่เบียดเบียนกัน
หากต้องการทราบการอัพเดทของ ธรรมะ หลักธรรม ความสอดคล้องของหลักธรรมของศาสนา และเรื่องที่เกี่ยวข้อง แนะนำให้กด ที่ facebook ด้านล่างนี้เลยค่ะ เผื่อที่จะได้อัพเดทก่อนใคร
อัพเดทเมื่อ วันพุธที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556 ในหมวดหมู่ของ ธรรมะ เรื่อง ธรรมะ หลักธรรม ความสอดคล้องของหลักธรรมของศาสนา